วิทยาศาสตร์ระบบโลก (หลักสูตรนานาชาติ) (ESS)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ระบบโลก (หลักสูตรนานาชาติ)
Doctor of Philosophy Program in Earth System Science (International Program)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ระบบโลก (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรสหวิทยาการ ที่มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะการวิจัยขั้นสูงในด้านวิทยาศาสตร์ระบบโลก สามารถสร้างความรู้ใหม่ด้วยการบูรณาการความรู้และเทคโนโลยีร่วมกับการวิจัย เพื่อใช้ในการป้องกัน แก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติ และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความมั่นคงและยั่งยืน อีกทั้งเป็นดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพ

                (ภาษาไทย)
               ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ระบบโลก)
               ปร.ด. (วิทยาศาสตร์ระบบโลก)

                (ภาษาอังกฤษ)
                Doctor of Philosophy (Earth System Science)
                Ph.D. (Earth System Science)

  • ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในศาสตร์สาขาต่างๆ ของวิทยาศาสตร์ระบบโลกในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
  • อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัยทางด้านเฉพาะด้าน ในศาสตร์สาขาต่างๆ ของวิทยาศาสตร์ระบบโลกและการจัดการภัยธรรมชาติในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน องค์กรอิสระ และองค์กรระหว่างประเทศ
  • นักวิเคราะห์เฉพาะด้าน ในศาสตร์สาขาต่างๆ ของงานด้านวิทยาศาสตร์ระบบโลก
  • ที่ปรึกษางานเฉพาะด้าน ในศาสตร์สาขาต่างๆ ของทางด้านวิทยาศาสตร์ระบบโลก

                90,000 บาท/ภาคการศึกษา

รูปแบบหลักสูตร

                หลักสูตร 3 ปี (แบบ1.1)

                หลักสูตร 4 ปี (แบบ1.2)

จำนวนหน่วยกิต

                 แบบ 1.1 ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

                 แบบ 1.2 ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต

 

  • แบบ 1.1                                              48 หน่วยกิต

                           -วิทยานิพนธ์                          48 หน่วยกิต

  • แบบ 1.2                                              72 หน่วยกิต

                           -วิทยานิพนธ์                          72 หน่วยกิต

             (แบบ 1.2 จะเป็นหลักสูตรที่เรียนควบปริญญาโท-เอก)

 

แผนการศึกษา

  • แบบ 1.1
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
964-504 ระเบียบวิธีวิจัย*
(Research Methodology)
3 หน่วยกิต
964-601 การศึกษาพิเศษ 1 *
(Seminar)
3  หน่วยกิต
964-704 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
3  หน่วยกิต
  รวม 9 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
964-505 เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์สำหรับงานวิจัย *
(Scientific Tools for Research)
3  หน่วยกิต
978-602 การศึกษาพิเศษ 2 *
(Special Study II)
9(0-27-0)
964-704 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
6  หน่วยกิต
  รวม 6 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
964-704 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
9  หน่วยกิต
  รวม 9 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
964-704 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
9  หน่วยกิต
  รวม 9 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1
964-704 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
9  หน่วยกิต
  รวม 9 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
964-704 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
12  หน่วยกิต
  รวม 12 หน่วยกิต

* เป็นรายวิชาที่ให้นักศึกษาทุกคนลงทะเบียนเรียนแบบไม่นับหน่วยกิต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

 

  • แบบ 1.12

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
964-504 ระเบียบวิธีวิจัย*
(Research Methodology)
3 หน่วยกิต
964-601 การศึกษาพิเศษ 1 *
(Seminar)
3  หน่วยกิต
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
3  หน่วยกิต
  รวม 3 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
964-505 เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์สำหรับงานวิจัย *
(Scientific Tools for Research)
3  หน่วยกิต
978-602 การศึกษาพิเศษ 2 *
(Special Study II)
9(0-27-0)
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
6  หน่วยกิต
  รวม 6 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
9  หน่วยกิต
  รวม 9 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
9  หน่วยกิต
  รวม 9 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
9  หน่วยกิต
  รวม 9 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
12  หน่วยกิต
  รวม 12 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
12  หน่วยกิต
  รวม 12 หน่วยกิต
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2
964-705 วิทยานิพนธ์
(Thesis)
12  หน่วยกิต
  รวม 12 หน่วยกิต
* เป็นรายวิชาที่ให้นักศึกษาทุกคนลงทะเบียนเรียนแบบไม่นับหน่วยกิต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

                ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทหรือเทียบเท่า

       มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้

  • สำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาแบบ 1.1
    • เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง ที่มีเกรดเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.50
    • ผู้สมัครเข้าศึกษาจะต้องมีผลการสอบภาษาอังกฤษ TOEFL หรือ IELTS ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสาหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก
  •  สำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาแบบ 1.2
    • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (Bachelor Degree) โดยมีผลการเรียนดีมาก หรือ
    • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยมีผลการเรียนดีมากหรือมีโครงงานวิจัยในระดับปริญญาตรี (Senior Project) หรืองานวิจัยที่มีคุณภาพดีมาก
    • ผู้สมัครเข้าศึกษาจะต้องมีผลการสอบภาษาอังกฤษ TOEFL หรือ IELTS ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษสาหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก
      และมีคุณสมบัติอื่น ๆ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา

นางสาวอรปรียา ปิยังกร
เบอร์โทรศัพท์ : 076-27000 ต่อ 6433
Email : onpreeya.j@phuket.psu.ac.th
Inbox page: FTE คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ม.อ.ภูเก็ต